2. วัสดุดูดซับเสียงที่ติดตั้งบนฝ้าเพดานห้อง เช่น การติดตั้งแผ่นอคูสติกดูดซับเสียง  M board  ไว้บนฝ้าฉาบเรียบ เพื่อควบคุมเสียง 


สาเหตุที่บ่อยครั้งจำเป็นต้้องติดตั้งวัสดุดูดซับเสียงไว้บนฝ้าเพราะ ห้องประชุม หลายแหล่งจะมีความสูงของห้องไม่มาก เช่น 2.4-3 เมตร แต่ห้องมีขนาดกว้างยาวค่อนข้างมาก เช่น อาจจะกว้าง 8 เมตร ยาว 16 เมตร เป็นต้น 


ดังนั้น พื้นที่ผิวของฝ้าอาจจะเยอะกว่าพื้นที่ผิวของผนังห้องได้ นอกจากนั้นห้องประชุมส่วนใหญ่จะมีการใช้ผนังทำเป็นกระดานดำ จอโปรเจกเตอร์ ทำให้ไม่มีพื้นที่ติดตั้งวัสดุดูดซับเสียงที่ผนังเลย ดังนั้นการติดตั้งวัสดุดูดซับเสียงบนฝ้าจึงมีความจำเป็น 

     




3. วัสดุดูดซับเสียงประเภท แผ่นฝ้ายิปซั่มเจาะรู เช่นแผ่นฝ้า Echo Bloc ที่กรุด้านบนด้วยวัสดุดูดซับเสียงประเภทเส้นใย 


ระบบแผ่นฝ้าฉาบเรียบแบบเจาะรู ที่ทั่วไปเรียกกันว่า ฝ้า Echo Bloc ซึ่ง เป็นการติดตั้งรูปแบบเดียวกับกับแผ่นฝ้าฉาบเรียบ แต่ตัวแผ่นจะมีรู ในรูปแบบต่างๆ 

ข้อดีของฝ้าระบบนี้คือ ค่อนข้างดูเรียบร้อย แต่ฝ้าสามารถดูดซับเสียงได้ อย่างไรก็ดี ระบบแผ่นฝ้าเจาะรู จะมักเกิดความเข้าใจผิดในการใช้งานบ่อยครั้ง ทำให้ประสิทธิภาพในการดูดซับเสียงต่ำลงไปมากหรือไม่ช่วยดูดซับเสียงเลย ได้แก่ 









































     




3.1 ติดตั้งแผ่นฝ้าเจาะรู โดยไม่มีการวางแผ่นดูดซับเสียงประเภทเส้นใย เช่น แผ่น ISO NOISE รุ่นพรีเมี่ยมไว้ด้านหลังแผ่นฝ้า​  ด้วยสาเหตุนี้จะทำให้ค่าการดูดซับเสียงลดต่ำลงถึง 60 % ซึ่งหลายครั้งพบว่า แม้แต่จะติดตั้งแผ่นฝ้าเจาะรูไว้เต็มพื้นที่ฝ้าแต่เสียงก็ยังไม่หายก้อง 




รูปที่่1 ห้องทำงานที่มีแต่พื้นผิวสะท้อน ทำให้ห้องมีเสียงก้องมาก


รูปที่่ 7  การออกแบบคำนวณสภาพอคูสติกภายในห้อง ด้วยโปรแกรมคำนวณ

รูปที่่3 การติดตั้งแผ่น Cylence Zandera ไว้ที่ผนังห้อง เพื่อป้องกันเสียงสะท้อนจากด้านหลังห้องไปยังหน้าเวที

หากใครมีปัญหาห้องประชุมเสียงก้อง กำลังออกแบบอคูสติกภายในห้องประชุม สามารถสอบถามกับวิศวกรโดยตรงได้ (วิศวกรโบ๊ต 062-195-1909) 


- ให้คำแนะนำในการเลือกวัสดุดูดซับเสียงที่เหมาะสม 


- คำนวณปริมาณวัสดุดูดซับเสียง เพื่อควบคุมความก้องภายในห้อง ลดค่าใช้จ่ายแทนที่จะติดตั้งวัสดุดูดซับเสียงเต็มทั้งห้อง 


- บริการตรวจวัดสภาพอคูสติกภายในห้อง ทั้งก่อนและหลัง เพื่อออกแบบ ให้คำปรึกษา และส่งมอบงาน 

วิธีการเลือกและติดตั้งวัสดุดูดซับเสียงภายในห้องประชุม

รูปที่่5 ระบบแผ่นฝ้ายิปซั่มฉาบเรียบเจาะรู จำเป็นต้องมีการวางแผ่นซับเสียงประเภทเส้นใย ISONOISE รุ่นพรีเมี่ยมไว้ด้านบน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดูดซับเสียง

รูปที่่4 การติดตั้งแผ่น M Board บนฝ้าเพดาน ทำให้พื้นผิวฝ้ามีคุณสมบัติดูดซับเสียงที่สูง 

รูปที่่4 ตัวอย่างระบบแผ่นฝ้าฉาบเรียบเจาะรู เพื่อช่วยในการดูดซับเสียง

รูปที่่ 6  การตรวจวัดสภาพอคูสติกภายในห้องด้วยเครื่องวัดที่ทันสมัย 

3.2 ติดตั้งแผ่นฝ้าเจาะรูปกับฝ้าฉาบเรียบเดิม โดยไม่มีช่องว่างเลย โดยการติดตั้งแบบนี้จะทำให้เสียงเดินไปกระทบแผ่นฝ้าไม่ได้ถูกกักเก็บภายในช่องว่างด้านในและถูกสลายพลังงาน แต่กลับกันเสียงจะสะท้อนกลับเข้ามายังภายในห้องทั้งหมด เป็นผลให้ห้องยังคงมีเสียงก้องเหมือนเดิม ดังเช่นก่อนการปรับปรุง 

สนใจสั่งซื้อวัสดุดูดซับเสียงสำหรับภายในห้องประชุม ให้คำแนะนำด้วยวิศวกรที่จบด้านเสียงโดยตรง  ติดต่อ วิศวกรโบ๊ต 062-195-1909

รูปที่่2 ห้องนอนที่พื้นผิวส่วนใหญ่เป็นวัสดุประเภทเส้นใย ดูดซับเสียงได้ดี ทำให้ห้องไม่ก้อง

รูปที่่3 การติดตั้งแผ่น ฟองน้ำดูดซับเสียง Top Tone เพื่อควบคุมเสียงก้อง 

Credit เวป Baanidea

สาเหตุที่ทำให้ห้องประชุมเสียงก้อง 


หากพิจารณาห้องประชุมจะพบว่า มันคือห้องโล่งๆ ที่ไม่มีเฟอร์นิเจอร์อะไรเลย นอกจากโต๊ะและเก้าอี้ ภายในห้อง 

เมื่อเทียบกับห้องนอนที่มีทั้งเตียง ตู้เสื้อผ้า เครื่องนอน เสื้อผ้า พรม ซึ่งวัสดุพวกเส้นใย จะมีคุณสมบัติการดูดซับเสียงได้ดี 




Credit เวป amarintv

สั่งซื้อ หรือสอบถามเพิ่มเติม จากวิศวกรผู้เชี่ยวชาญ
Mobile: 062-195-1909 
Line id: @GETBEST

รูปแบบการติดตั้งวัสดุดูดซับเสียงในห้องประชุม


ในปัจจุบันมีวัสดุดูดซับเสียงที่ถูกนำมาใช้ออกแบบและติดตั้งภายในห้องประชุมอย่างมากมาย โดยสรุปได้ดังต่อไปนี้ 


1. วัสดุดูดซับเสียงที่ติดตั้งบนผนังห้อง เช่น แผ่น Cylence Zandera หรือแผ่นฟองน้ำซับเสียง TopTone 


นอกจากจะมีคุณสมบัติในการดูดซับเสียงกลางแหลมได้ดีแล้ว แผ่น Cylence Zandera ยังมีขนาดและสีที่หลากหลาย ช่วยในการออกแบบและตกแต่งลวดลายไม่ซ้ำแบบใคร


โดยตำแหน่งที่นิยมติดตั้ง ตำแหน่งแรก คือผนังด้านหลังสุดของห้องประชุม หรือฝั่งตรงข้ามกับเก้าอี้ของประธานในการประชุม เหตุผลเพราะนอกจากจะใช้เพื่อควบคุมความก้องภายในห้อง ยังลดเสียงสะท้อนจากด้านหลังห้องกลับมาฝั่งหน้าห้อง หรือที่เสียงว่าเสียง เอคโค่ (Echo)